วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6


วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่  21  กันยายน  พ.ศ. 2557

เวลาเรียน  08:30  น.

   วันนี้อาจารย์ได้ถามเกี่ยวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน 
( Constructionism ) ว่าเกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยอย่างไร?


Activities

อาจารย์ให้เราวาดรูปลงบนกระดาษที่อาจารย์แจกทั้งสองด้านให้สอดคล้องกัน  โดยที่เราสามารถวาดรูปอะไรก็ได้ตามใจเรา  แล้วติดที่ไม้ที่อาจารย์แจก


สิงที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมนี้

รู้จักการสังเกตจากสิ่งที่เราทำว่ามีข้อแตกต่างหรือผิดผลาดยัง  เราควรจะวาดรูปยังไงเพื่อที่เวลาหมุนแล้วจะได้ออกมาสวยงามและเหมาะสมกัน

งามกลุ่มของเพื่อนที่ได้ร่วมกันทำภายในกลุ่มของแต่ละกลุ่ม



   Article

      สอนลูกเรื่องพืช
         ในการเรียนรู้พืชของเด็กนั้นพ่อแม่สามารถมีส่วนร่วมได้ง่ายๆเช่น  ในการทำอาหารโดยให้ลูกเป็นคนใส่สวนประกอบของอาหาร  ในขณะที่เด็กนั้นใส่ส่วนประกอบของอาหารพ่อแม่อาจจะตั้งคำถามง่ายให้ลูกตอบว่าผักที่หนูกำลังใส่มีชื่อผักอะไร  เพียงเท่านี้เด็กก็จะสามารถเรียนรู้เรื่องพืชได้

      การทดลองวิทยาศาสตร์สนุกๆสำหรับคุณหนู
         ในการทดลองจะช่วยให้เด็กๆนั้นมีทักษะการสังเกตุ  การค้นคว้าหาคำตอบอย่างมีเหตุและผล
ซึ่งจะทำให้เด็กได้ใช้ปนะสาทสัมผัสทั้ง  5  คือ การมอง  การฟัง  การดม  การลิ้มรส  และสัมผัส



เฟรอเบล  ( Froebel ) 





จอห์น ล็อก  ( John Locke )


   การนำไปประยุกต์ใช้
      สามารถไปนำไปอ่านเพื่อเป็นความรู้เพิ่มเติมได้  และยังสามารถนำไปจัดเป็นกิจกรรมให้กับเด็กๆในการเรียนการสอนในอนาคตได้  และในกิจกรรมยังฝึกให้ได้รู้จักการสังเกต

   ประเมินอาจารย์
      อาจารย์นำกิจกรรมมาปรับในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้แสดงออกอย่างอิสระ  และมีความคิดที่สร้างสรรค์  
   
   ประเมินเพื่อน
      เพื่อนทุกคนมีความสนุกสนานในการทำกิจกรรมและมีความสุขขณะทำกิจกรรม

   ประเมินตนเอง
      รู้สึกสนุกกับกิจกรรมที่ทำ  ได้ผ่อนคลายและแสดงความคิดในการวาดรูปได้อย่างอิสระ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น