วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6


วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่  21  กันยายน  พ.ศ. 2557

เวลาเรียน  08:30  น.

   วันนี้อาจารย์ได้ถามเกี่ยวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน 
( Constructionism ) ว่าเกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยอย่างไร?


Activities

อาจารย์ให้เราวาดรูปลงบนกระดาษที่อาจารย์แจกทั้งสองด้านให้สอดคล้องกัน  โดยที่เราสามารถวาดรูปอะไรก็ได้ตามใจเรา  แล้วติดที่ไม้ที่อาจารย์แจก


สิงที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมนี้

รู้จักการสังเกตจากสิ่งที่เราทำว่ามีข้อแตกต่างหรือผิดผลาดยัง  เราควรจะวาดรูปยังไงเพื่อที่เวลาหมุนแล้วจะได้ออกมาสวยงามและเหมาะสมกัน

งามกลุ่มของเพื่อนที่ได้ร่วมกันทำภายในกลุ่มของแต่ละกลุ่ม



   Article

      สอนลูกเรื่องพืช
         ในการเรียนรู้พืชของเด็กนั้นพ่อแม่สามารถมีส่วนร่วมได้ง่ายๆเช่น  ในการทำอาหารโดยให้ลูกเป็นคนใส่สวนประกอบของอาหาร  ในขณะที่เด็กนั้นใส่ส่วนประกอบของอาหารพ่อแม่อาจจะตั้งคำถามง่ายให้ลูกตอบว่าผักที่หนูกำลังใส่มีชื่อผักอะไร  เพียงเท่านี้เด็กก็จะสามารถเรียนรู้เรื่องพืชได้

      การทดลองวิทยาศาสตร์สนุกๆสำหรับคุณหนู
         ในการทดลองจะช่วยให้เด็กๆนั้นมีทักษะการสังเกตุ  การค้นคว้าหาคำตอบอย่างมีเหตุและผล
ซึ่งจะทำให้เด็กได้ใช้ปนะสาทสัมผัสทั้ง  5  คือ การมอง  การฟัง  การดม  การลิ้มรส  และสัมผัส



เฟรอเบล  ( Froebel ) 





จอห์น ล็อก  ( John Locke )


   การนำไปประยุกต์ใช้
      สามารถไปนำไปอ่านเพื่อเป็นความรู้เพิ่มเติมได้  และยังสามารถนำไปจัดเป็นกิจกรรมให้กับเด็กๆในการเรียนการสอนในอนาคตได้  และในกิจกรรมยังฝึกให้ได้รู้จักการสังเกต

   ประเมินอาจารย์
      อาจารย์นำกิจกรรมมาปรับในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้แสดงออกอย่างอิสระ  และมีความคิดที่สร้างสรรค์  
   
   ประเมินเพื่อน
      เพื่อนทุกคนมีความสนุกสนานในการทำกิจกรรมและมีความสุขขณะทำกิจกรรม

   ประเมินตนเอง
      รู้สึกสนุกกับกิจกรรมที่ทำ  ได้ผ่อนคลายและแสดงความคิดในการวาดรูปได้อย่างอิสระ

วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่  16  กันยายน  พ.ศ. 2557

เวลาเรียน  08:30  น.

   บทความ
      วิทยาศาสตร์กับเด็กปฐมวัย
         เด็กจะได้เรียนรู้การแก้ปัญหาและค้นหาความจริงเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวของเด็ก   ตัวเด็กจะได้ทักษะการจำแนก  การสังเกต  การเรียงลำดับ

      สอนลูกเรื่องปรากฎการณ์ธรรมชาติสำคัญอย่างไร
         เด็กจะได้ทักษะในด้านของการสังเกต  เปรียบเทียบ  อภิปราย  สรุปและปฏิบัติ

สรุปความลับของแสง  ( The Secret of Light. )    


Assessment

   ประเมินอาจารย์
      อาจารย์มีเทคนิคการสอนโดนการใช้  เรื่องความลับของแสงทำให้นักศึกษาสนใจการเรียนมากขึ้น
   
   ประเมินเพื่อน
      เพื่อนส่วนมากตั้งใจเรียน  และร่วมกันตอบคำถามที่อาจารย์ถาม
   
   ประเมินตนเอง
      ตั้งใจฟังบทความที่เพื่อนนำเสนอ   และร่วมกับเพื่อนตอบคำถาม
  
   การนำไปประยุกต์ใช้
      สามารถนำสื่อที่อาจรย์สอนไปใช้ในการเรียนการสอนในอนาคต  เพื่อนเป็นสื่อที่ทำให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น
   
   ความรู้เพิ่มเติม
      -ข้าว

วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4


วิชา   การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารยย์ผู้สอน   อาจารย์จินตนา   สุขสำราญ
วันที่   9   กันยายน   พ.ศ.2557
เวลาเรียน   08:30  น.

   วันนี้เพื่อนได้ออกมานำเสนอบทความทั้งหมด  5  คน  โดยมีชื่อบทความดังนี้
1.   จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ   "สนุกคิดกับของเล่นวิทยาศาสตร์"
2.   ทำอย่างไรให้ลูกสนใจวิทยาศาสตร์
3.   วิทย์คณิตศาสตร์สำคัญอย่างไรกับอนาคตของชาติ
4.   เมื่อลูกน้อยเรียนรู้วิทย์คณิตจากเสียงดนตรีบูรณาการวิทยาศาสตร์
5.   การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

   วิทยาศาสตร์
      การสืบค้นความจริงจากธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วย   ทักษะ  กระบวนการ  และเจตคติทางวิทยาศาสตร์   อย่างมีระบบแบบแผน   มีขอบเขตโดยอาศัยการสังเกต   การทดลองเพื่อค้นหาความจริง
   
   แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
      การเปลี่ยนแปลง
      ความแตกต่าง
      การปรับตัว
      การพึ่งพาอาศัย
      ความสมดุล

   การศึกษาวิธีทางวิทยาศาสตร์
      ขั้นกำหนดปัญหา
      ขั้นตั้งสมมติฐาน
      ขั้นรวบรวมข้อมูล
      ขั้นลงข้อสรุป

   เจตคติทางวิทยาศาสตร์
      ความอยากรู้้อยากเห็น
      ความเพียรพยายาม
      ความมีเหตุผล

   ความสำคัญทางวิทยาศาสตร์
      ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
      พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
      เสริมสร้างประสบการณ์

   ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
      พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน
      พัฒนาทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
      สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง

   การนำไปประยุกต์ใช้
      สามารถนำไปปรับปรุงและพัฒนาตนเองให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้ในอนาคต

   การประเมินตนเอง
      ตั้งใจฟังบทตวามที่เพื่อนนำเสนอ  และที่อาจารย์เสริมเข้าไปให้และตั้งใจจดความรู้ที่อาจารย์สอดแทรกเนื้อเพิ่มเข้าไปให้
      
   ประเมินเพื่อน
      เพื่อนตั้งใจฟังและสามารถตอบคำถามอาจารย์ได้

   ประเมินอาจารย์
      อาจารย์พยายามกระตุ้นให้นักศึกษาพยายามตอบคำถามอยู่เรื่อย  และสอดแทรกเนื้อหาเพิ่มเติมให้   

คำศัพท์

think   =   คิด  
Analysis   =  วิเคราะห์ 
discrimination   =   แยกแยะ

   คำศัพท์  3  คำนี้ถือเป็นคำศัพท์เบื้องตันที่ทุกคนต้องใช้   หรือที่เรียนกันง่ายๆว่า  ค.ว.ย.....


             

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

วิชา  การจัดประสบการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา   สุขสำราญ
วันที่   2   กันยายน   พ.ศ.2557
เวลาเรียน   08:30   น.

   วันนี้เพื่อนๆและตัวดิฉันเองได้ออกไปนำเสนอบทความเป็นกลุ่มแรกของห้อง   โดยออกไปด้วยกัน  5  คน   
   บทความที่ออกไปนำเสนอมีชื่อว่า
      1.   วิทยาศาสตร์และการทดลอง
      2.   ภารกิจตามหาใบไม้
      3.   เรื่องไม่เล็กของเด็กชายขอบกับการสร้างวิทยาศาสตร์กับบูรณาการ
      4.   การแยกเมล็ด
      5.   การทำกิจกรรมลูกโป่ง

   หลังจากที่เพื่อนๆนำเสนอบทความเสร็จอาจารย์ให้พวกเราสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนไปในวันนี้เป็น  Mind   Map  

( ไม่ได้ถ่ายภาพผลงานของตนเองและเพื่อนๆไว้ )

การประเมินตนเอง
   วันนี้ดิฉันตั้งใจออกไปนำเสนอบทความถึงแม้บทความที่ออกไปนำเสนอจะซ้ำกับเพื่อน  และได้ตั้งใจฟังที่เพื่อนออกไปนำเสนอและที่อาจารย์สอน
การประเมินเพื่อน
   วันนี้เพื่อนส่วนใหญ่ตั้งใจฟังเพื่อนออกไปนำเสนอบทความและตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน
การประเมินอาจารย์
   วันนนี้อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะ  และพยายามกระตุ้นนักศึกษาให้ตอบคำถามโดยที่ใช้คำถามปลายเปิด


วันจันทร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2


วิชา   การจัดประสบการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน   อาจารย์จินตนา   สุขสำราญ
วันที่   26   สิงหาคท   พ.ศ.2557
เวลาเรียน   8:30


      อาจารย์เริ่มต้นการสอนโดยที่อาจารย์ให้คำว่า  " เด็กปฐมวัย "  โดยตั้งเป็นคำถามปลายเปิดให้นักศึกษาทุกคนช่วยกันตอบเกี่ยวกับคำว่า  " เด็กปฐมวัย " 
   -หลังจากที่นักศึกาาช่วยกันตอบแล้วอาจารย์ให้สรุปเนื้อหาที่เรียนในวันนี้   โดยสรุปเป็น  May  Map  ดังนี้



สรุป

      วิทยาศาสตร์จะเป็นเรื่องที่เกิดรอบๆตัวของเด็กในชีวิตประจำ  ในบางเรื่องอาจจะไม่ใช่วิทยาศาสตร์โดยตรงแต่มีแฝงอยู่

      เครื่องที่ใช้ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
   - ภาษา
   - คณิตศาสตร์

      เครื่องมือที่เด็กใช้ในการเรียนรู้
   - ตาดู
   - หูฟัง
   -มือสัมผัส
   - ปากชิมรด
   - จมูกดม   

ทำไมต้องใช้วิทยาศาสตร์กับเด็ก
   - เด็กสนใจ
   - ใกล้ตัวเด็ก

ประเมินตนเอง
   ตั้งใจเรียนและพยายามตอบคำถามที่อาจารย์ถาม
ประเมินเพื่อน
   เพื่อนหลายๆคนพยายามตอบคำถามและช่วยเพื่อนตอบคำถามในหลายข้อ
ประเมินผู้สอน
   อาจารย์พยายามใช้คำถามปลายเปิดกับนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้เกิดการคิดและคำตอบที่หลากหลาย