วันพฤหัสบดีที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9


วิชา   การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่  14  ตุลาคม  พ.ศ.2557
เวลาเรียน  08:30  น.

วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละคนออกมานำเสนอของเล่นที่แต่ละคนได้คิดค้นและทำมาให้เพื่อนในห้องได้ชม

Player Name  :  เรือพลังยาง



   Equipment 
      1.  ตะเกียบ
      2.  ปืนกาว
      3.  หนังยาง
   How do 
      1.  นำตะเกียบสองอันมากางออกแล้วติดกาวปลายตะเกียบที่หัวติดกัน 
      2.  นำตะเกียบมาตัดเป็น  3  ส่วนยาวต่างกันแล้วนำมาติดกาวตามระดับความยาวที่ต่างกัน  เพื่อกาง              ตะเกียบไว้ไม่ให้ติดกัน
      3.  นำหนังยางมาเกี่ยวไว้ที่ตะเกียบทั้งสองข้างให้ตึง
   How to Play
      นำไม้มาหมุนหนังยางให้ตึงแล้วนำไปวางไว้ในน้ำ  พร้อมปล่อยไม้ที่หมุนหนังยาง  เรือจะวิ่งไปข้างหน้าจนกว่ายางจะคืนตัวหมด
   Extra
      สามารถใช้ไม้ไอศครีมหรือไม้ลูกชินได้  เพื่อเปรียบว่าสองสิ่งนี้อันไหนไปได้ดีกว่าและเร็วกว่า

ผลงานของเพื่อนๆ



   เทคนิคการสอน
      อาจารย์ให้เราทำผลงานมาแล้วต้องสามารถอธิบายและตอบคำถามอาจารย์ได้  เพราะเมื่อเราทำสื่อหรือของเล่นไปให้เด็กเล่นแล้วเด็กเกินการสงสัยและตั้งคำถามถามครู  ต้องสามารถตอบให้เด็กเข้าใจได้และหายสงสัยได้

   การนำไปประยุกต์ใช้
      สามารถนำของเล่นต่างไปใช้กับเด็กได้  เพื่อให้เด็กเกิดความสนุกสนานได้

   ประเมินอาจารย์
      อาจารย์ได้สอดแทรกและเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับสื่อต่างๆ  ได้อย่างเหมาะสม

   ประเมินตนเอง
      ออกไปนำเสนอผลงานของตนเองอย่างเต็มที่  

   ประเมินเพื่อน
      สื่อของเพื่อนๆมีความน่าสนใจเป็นอย่างมาก


บันทึกอนุทินครั้งที่ 8


วิชา   การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่  7  ตุลาคม  พ.ศ.2557

สอบการภาค




บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7


วิชา   การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่  30  กันยายน  พ.ศ.2557
เวลาเรียน  08:30  น.

วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาทำกิจกรรม  2  กิจกรรม

Activity  1  กังหันกระดาษ


   อาจารย์จะให้แต่ละแถวตัดกระดาษลงมาต่างกัน  เพื่อที่เวลาออกมาโยนนักศึกษาจะได้สังเกตว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร  เช่น
      -  การโยนมีลักษณะอย่างไร  ?
      -  ระหว่างตกลงพื้นมีลักษณะอย่างไร  ?
   แล้วให้นักศึกษาลองสังเกตและบอกว่าเหตุผลว่าทำไมของแต่ละคนถึงต่างกัน

   จากการทดลองเรื่องนี้
      สามารถนำไปสอนเด็กในเรื่องของอากาศและแรงโน้มถ่วงได้

Activity  2  แกนทิชชู



   Equipment
      1.   แกนทิชชู
      2.   กรรไกร
      3.   เชือก
      4.   รูปภาพ 
   Procedures
      1.   ตัดแกนทิชชูให้เหลือครึ่งนึง
      2.   เจาะรู  2  รูให้เท่ากัน
      3.   ร้อยเชือกที่รูทั้ง  2  รูแล้วมัดกันให้แน่น
      4.   นำภาพมาแปะที่แกนทิชชู
   How to Play
      ให้เล่นแข่งกันโดยที่ทำยังไงก็ได้ที่สามารถทำให้แกนทิชชูขึ้นไปบ้างบนให้ได้
   
   Friend to demonstrate


   Article
   Teaching Techniques
      วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษามีอิสระในการทดลองทำกิจกรรมและหาวิธีการเล่นอย่างอิสระ  ไม่จำกัดความคิดของนักศึกษา

   การนำไปประยุกต์ใช้
      สามารถนำเทคนิคการสอนแบบนี้ไปใช้กับเด็กได้ให้อิสระกับเด็กได้คิดได้ทำ  ได้ลองผิดลองถูกในการเล่น

   ประเมินอาจารย์
      วันนี้อาจารย์นำกิจกรรมมาสอนสอดแทรกการเรียนเรียนได้อย่างดี  ทำให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น

   ประเมินตนเอง
      วันนี้มาเรียนสายทำให้เข้ามาทำกิจกรรมที่ 1  ในช่วงท้ายๆกิจกรรม

   ประเมินเพื่อน  
      วันนี้เพื่อนทุกคนสนุกสนานกับการทำกิจกรรม